วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวราบ

การเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวราบ
                
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
                วัตถุเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง แสดงว่ามีแรงกระทำในทิศแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ไม่ว่าจะมี
ทิศทางเดียวกัน หรือตรงกันข้ามผลจะทำให้การเคลื่อนที่นั้นเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง โดยแนว
การเคลื่อนที่จะอยู่ในแนวเดิม
( เส้นตรง )

                วัตถุจะเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งแบบโพรเจกไทล์ เมื่อมีแรงกระทำต่อวัตถุนั้นในแนวทำมุมใดๆ
กับการเคลื่อนที่ตลอดเวลา

                แต่ถ้าวัตถุใดมี
แรงกระทำต่อวัตถุนั้นในทิศทำมุม 90 องศากับทิศการเคลื่อนที่ผลจะ
ทำให้
วัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งแบบวงกลม  วัตถุที่ถูกผูกด้วยเชือกแกว่งให้เคลื่อนที่เป็นวงกลม
เราจะต้องออกแรงดึงเชือกไว้คลอดเวลา  แรงนี้จะมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางคือตำแหน่งที่เราจับเชือกไว้
หรือ การขับรถจักรยานยนต์ไต่ถังเป็นวงกลม 
จะมีแรงจากผนังกระทำต่อรถจักรยานยนต์ตลอดเวลา
ในทิศตั้งฉากกับการเคลื่อนท
ี่  และแรงจากผนังที่กระทำต่อรถจักรยานยนต์จะมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง
จึงเรียกแรงนี้ว่า
แรงสู่ศูนย์กลาง    ( ) ดังรูป 1.
รูป 1.  วัตถุที่ถูกแกว่งเป็นวงกลม  และ รถจักรยายนต์ไต่ถัง
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2  ของนิวตัน  วัตถุจะเปลี่ยนไปจากสภาพเดิม เมื่อมีแรงที่ไม่เท่ากับศูนย์
มากระทำ   แสดงว่าแรงลัพธ์ที่มากระทำต่อวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นแนวโค้งแบบวงกลม จะต้องเป็น
แรงสู่ศูนย์กลาง  ดังนั้น
สมการของแรงสู่ศูนย์กลางจะได้ดังนี้
                                จาก                        
                                จะได้                            
- ความเร่งที่เกิดขึ้นกับวัตถุจะมีขนาดและทิศทางเท่าไร
  และอย่างไร
รูป 2.  แสดงทิศของความเร่งของวัตถุ ที่เคลื่อนที่แบบวงกลม
         จากรูป 2.
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ()ในช่วงเวลา t  จะเกิดความเร่งของวัตถุขึ้น 
โดย
ความเร่งจะมีทิศเข้าสู่ศูนย์กลางตลอดการเคลื่อนที่ จึงเรียกความเร่งนี้ว่า ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
จะได้                     
        ขนาดของความเร่ง  จะหาได้ดังนี้
        จากรูป 2. วัตถุมวล m  กำลังเคลื่อนที่เป็นแนวโค้งแบบวงกลม ด้วยความเร็ว   ณ ตำแหน่ง
A
และตำแหน่ง B  มีขนาดความเร็ว  เท่ากัน
  ใช้เวลา t  รัศมีความโค้งของการเคลื่อนเป็น R 
       ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้   คือ    

                           จาก        
                                           
                            จาก          
                                                    
                                                      รูป 3
แสดงองค์ประกอบของความเร็ว
          จากรูป 3. ในแนวแกน x  จะไม่เกิดความเร่ง เนื่องจาก ขนาดและทิศทางของความเร็วไม่
เปลี่ยนแปลง
แต่ในแนวแกน y จะเกิดความเร่งเนื่องจากทิศทางของความเร็วเปลี่ยนไป จะได้
                                             
                                                       , เมื่อ    เป็นมุมเล็กมากๆ  จะได้  sin =
                จะได้                                                                         ……………………..*****
                                เมื่อ    เป็นมุมเล็กมากๆ  จะได้  ความเร่ง  ที่เกิดขึ้นจะอยู่ในแนวแกน y  และ
มีทิศเข้าสู่ศูนย์กลาง ดังนั้นความเร่งนี้จึงเป็น
ความเร่งเข้าสู่ศูนย์กลาง
                                                                                               …………………….*****
                                จะได้                   
                                                           
                               …………………….*****
                                                      


ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่เป็นวงกลม
                เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่  สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ อัตราเร็ว
( v ) หรือ ความเร็ว (
   ) ของวัตถุนั้น
และการเคลื่อนที่ในแนวเชิงเส้น  หรือ เรียกว่า
อัตราเร็วเชิงเส้นหรือความเร็วเชิงเส้น  เมื่อวัตถุใด
มีการเคลื่อนที่รอบตำแหน่งใดๆ เช่นการเคลื่อนที่แบบวงกลม  การแกว่งของลูกตุ้ม  หรือการสั่น
ของสปริง การเคลื่อนที่นั้นจะทำให้ระยะทางของวัตถุเปลี่ยนไปแล้ว  มุมที่เทียบกับตำแหน่งนั้น
ก็จะเปลี่ยนไปด้วย การเคลื่อนที่ในลักษณะที่ทำให้มุมเปลี่ยนไปนี้เรียกว่า เกิด
อัตราเร็วเชิงมุม
หรือความเร็วเชิงมุม
  ดังนั้นการเคลื่อนที่แบบวงกลมจะมีอัตราเร็วเชิงมุมและความเร็วเชิงมุม
มาเกี่ยวข้อง  ปริมาณนี้ในทางฟิสิกส์แทนด้วยสัญลักษณ์คือ 
 ( อ่านว่า โอเมก้า )
       เราสามารถหาขนาดของอัตราเร็วเชิงมุมได้ดังนี้
รูป 4. การเคลื่อนที่ในแบบวงกลม
                เมื่อ    คือ  อัตราเร็วเชิงมุม  มีหน่วยเป็น  เรเดียนต่อวินาที  ( rad /s )
                       
   คือ  มุมที่เคลื่อนที่กวาดไปได้   มีหน่วยเป็น  เรเดียน  ( rad )
                         t    คือ  เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่    มีหน่วยเป็น  วินาที  ( s )

ความถี่และคาบ
                    
 ให้  t   =    เวลา(s)       และ      n   =   จำนวนรอบ    
               
ความถี่  ( f ) 
ใช้กับการกระทำที่ซ้ำ หรือ ครบรอบ ในหนึ่งหน่วยเวลา
                                ความถี่  คือ  จำนวนครั้ง หรือ จำนวนรอบ ในหนึ่งหน่วยเวลา
                ความถี่  =      มีหน่วยเป็น   ครั้ง (หรือรอบ )ต่อวินาที , ( เฮิรตซ์ )
                         
      มีหน่วยเป็น   ครั้ง (หรือรอบ )ต่อวินาที เรียกหน่วยนี้ว่า เฮิรตซ์  , ( Hz )
                คาบ  ( T )  ใช้กับ เวลา  ในการกระทำสิ่งนั้นๆ  หนึ่งครั้งหรือ หนึ่งรอบ
                                คาบ  คือ  เวลาที่ใช้  ในหนึ่งครั้งหรือหนึ่งรอบ
                คาบ  =      มีหน่วยเป็น   วินาที ต่อครั้ง (หรือรอบ ), วินาที ( s )
                          มีหน่วยเป็น   วินาทีต่อครั้ง (หรือรอบ )  เรียกหน่วยนี้ว่า วินาที ( s )
          ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่และคาบ
                                   จะได้                              หรือ        

ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วเชิงเส้น( v ) และอัตราเร็วเชิงมุม ( )
                การเคลื่อนที่เป็นวงกลม ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้จะหาได้จาก

                                                  S             =            
R                         ………………………….. ( 1 )
                เมื่อ 
S   คือ  ระยะทางตามแนวเส้นรอบวงที่เคลื่อนที่ได้       มีหน่วยเป็น  เมตร  ( m )
                       
   คือ  มุมที่วัตถุเคลื่อนที่กวาดไปได้รอบจุดศูนย์กลาง  มีหน่วยเป็น  องศา หรือ เรเดียน
                       R   คือ  รัศมีของการเคลื่อนที่รอบจุดศูนย์กลาง  มีหน่วยเป็น  เมตร 
( m )
                และจากสมการ                   
                                 ………………………….. ( 2 )
                แทนค่า   
  จากสมการ ( 1 ) ในสมการ ( 2 )
                จะได้                                                                  ,   เมื่อ  (    )
                จะได้                                             
      
                หรือ                                              v    =   R                              …………………..*****
ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วเชิงเส้น (v )  อัตราเร็วเชิงมุม  ( )    คาบ ( T )   และ ความถี่ ( f )
                จาก                                       
       
                เมื่อมีการเคลื่อนที่ครบรอบ จะได้  
   =  2   และ   t   =   T  เมื่อนำไปแทนค่าจะได้
                                                                                                     …………………..*****
                                หรือ                    
                                         …………………..*****                                และจาก                 v    =   R 
                                จะได้                   
                                    …………………..*****
                                หรือ                                                         …………………..*****
                                                         

ตัวอย่าง 1 โลกหมุนรอบตัวเองครบ 1 รอบ ใช้เวลา  24  ชั่วโมง  และรัศมีของโลกเท่ากับ
                 6.37 x 10
6 เมตร  จงคำนวณหา
                 ก. อัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุบนผิวโลก
                 ข. อัตราเร็วเชิงเส้น และขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรของโลก
วิธีทำ   ก. หาอัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุบนผิวโลก
                  
จาก        
                    ,  เมื่อ  T  =  24 x 3600  =  86400  s
                                        
                  ตอบ
   อัตราเร็วเชิงมุมของวัตถุบนผิวโลกเท่ากับ  7.27 x 10 – 5   เรเดียนต่อวินาที
            ข. หาอัตราเร็วเชิงเส้นของวัตถุที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรของโลก
                  
จาก              v    =  
R 
                                       
                                      
v  =    4.63 x 10 2    m /s

                  ตอบ  อัตราเร็วเชิงเส้นของวัตถุที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรของโลกเท่ากับ  463  เมตรต่อวินาที 
- หาขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรของโลก
                  จาก
                   
        และ        v    =   R    
                  จะได้
                     
                              
            ac  =     ( 7.27 x 10 – 5   rad / s )2  ( 6.37 x 10 6 m )
                                  
        ac  =     3.37 x 10 - 2 m / s2 

                   ตอบ  ขนาดของความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุที่อยู่บนเส้นศูนย์สูตรของโลก
                              เท่ากับ 3.37 x 10 - 2 เมตรต่อ(วินาที)2

ตัวอย่าง 2. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกเชือกยาว 1เมตร แล้วแกว่งให้เคลื่อนที่เป็นวงกลม
                    ตามแนวระดับด้วยอัตราเร็วคงที่ 2 รอบต่อวินาที จงหา
                    1) ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
                    2) แรงตึงเชือก
  ปัญหา :         1) หาความเร่งสู่ศูนย์กลาง
                        2) หาแรงตึงเชือก       

 
คิดวิเคราะห์ :         
                     
   
วิธีทำ:      
                   
                           

การเคลื่อนที่แบบกรวย Conical Pendulum
         หมายถึง
การเคลื่อนที่ของวัตถที่ผูกเชือกให้เคลื่อนที่ในแนวราบเป็นรูปวงกลมในลักษณะของ
กรวยกลม
กำหนดให้ มวล m หมุนเป็นวงกลมในแนวราบด้วยอัตราเร็วคงที่ V เมื่อหมุน
เป็นวงกลม
                                                         
ตัวอย่าง 3. มวล M และ m ผูกเชือกคล้องผ่านท่อ PVC แล้วหมุนมวล m ให้ เคลื่อนที่เป็นวงกลม
                   โดยมีอัตราเร็วคงที่สังเกตได้ว่า มวล M หยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่ แสดงว่า แรงตึงเชือก T
                    ซึ่งทำหน้าที่สู่ศูนย์กลาง และ แรง T ดึงมวล m ให้ หยุดนิ่ง
            
ตัวอย่าง 4. ถ้ามวล m หมุนในแนวระดับด้วยความเร็ว v โดย          
  

ตัวอย่าง 5.
                                   
   
 วิธีทำ

   
  
                     

ตัวอย่าง 6. จากการทดลอง เมื่อหมุนมวล m ให้เคลื่อนที่เป็นวงกลมดังรูป จงหาอัตราเร็วเชิงมุม
      

ตัวอย่าง 7. วัตถุมีมวล 0.8 kgผูกเชือก2 เส้นยาวเส้นละ 5 m ปลายของเชือกแต่ละเส้นแยกผูกกับ
                   คานไม้ซึ่งตั้งในแนวดิ่ง โดยที่จุดผูกห่างจากกัน 8 m เมื่อคานหมุนรอบตัวเองด้วยอัตราเร็ว
                   เชิงมุม 3 rad/s เชือกจะกางออกดังรูป จงหาความตึงเชือกแต่ละเส้น
                     
ปัญหา    หาแรงตึงเชือกแต่ละเส้น
คิดวิเคราะห์
        
   รวบรวมข้อมูล
                                 
   วิธีทำ
                        

ตัวอย่าง 8. ลูกกลม A และ B ผูกเชือกยาว 2 เส้น ยาวไม่เท่ากัน จับปลายทั้งสองเส้นเข้าด้วยกัน
                   แล้วแกว่งเป็นวงกลมในแนวระดับดังรูป โดยลูกกลมทั้งสองใช้เวลาในการแกว่ง 1 รอบ
                   เท่ากัน จงหาอัตราส่วนของความเร่งสู่ศูนย์กลางของ  A และ B
ปัญหา   หาอัตราส่วนของความเร่ง A : ความเร่ง B
คิดวิเคราะห์
                   วิธีทำ
                

แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แบบวงกลมในแนวราบ
 เมื่อนักเรียนทำเสร็จแล้วให้ส่งคำตอบที่  jas.pa@chaiyo.com
    1. การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ ถ้ารัศมีของการเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า
        โดยที่อัตราเร็วยังคงเท่าเดิม จะต้องใช้แรงเข้าสู่ศูนย์กลางเป็นกี่เท่าของอัตราเร็วเดิม
 

    4. วัตถุมวล 10 กรัม ผูกที่ปลายข้างหนึ่งของเชือกน้ำหนักเบายาว 2 เมตร ถ้าจับปลายอีกข้างหนึ่ง
        ของเชือกแล้วแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบ โดยให้ระนาบของวงกลมทำมุม
        30 องศากับเส้นเชือก จงหาเวลาที่วัตถุชิ้นนี้แกว่งครบรอบได้เท่ากับกี่วินาที
     5. วัตถุมวล m เคลื่อนที่เป็นวงกลมภายในกรวยหงาย ณ ตำแหน่งที่สูงจากพื้น 0.4 เมตร จงหา
         ความเร็วของมวล m ที่เคลื่อนที่โดยไม่มีการลื่นไถล
    6. วัตถุมวล 10 กรัม ผูกที่ปลายข้างหนึ่งของเชือกน้ำหนักเบายาว 2 เมตร ถ้าจับปลายอีกข้างหนึ่ง
         ของเชือกแล้วแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบ โดยให้ระนาบของวงกลมทำมุม
         30 องศากับเส้นเชือก จงหาเวลาที่วัตถุชิ้นนี้แกว่งครบรอบได้เท่ากับกี่วินาที
ที่มา http://patchada.renunakhon.ac.th/phy30201/circular/circular01.html  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น